How to diagnose and manage neurological toxicities of immune checkpoint inhibitors: an update

Author(s):  
Alberto Vogrig ◽  
Sergio Muñiz-Castrillo ◽  
Antonio Farina ◽  
Jérôme Honnorat ◽  
Bastien Joubert
2017 ◽  
Vol 23 ◽  
pp. 176-177
Author(s):  
Kaitlyn Steffensmeier ◽  
Bahar Cheema ◽  
Ankur Gupta

2019 ◽  
Vol 81 (5) ◽  
pp. 396-400 ◽  
Author(s):  
Hayato NOMURA ◽  
Osamu YAMASAKI ◽  
Tatsuya KAJI ◽  
Hiroshi WAKABAYASHI ◽  
Yoshia MIYAWAKI ◽  
...  

2018 ◽  
Vol 1 (1) ◽  
pp. 28-32
Author(s):  
Piyawat Komolmit

การรักษามะเร็งด้วยแนวความคิดของการกระตุ้นให้ภูมิต้านทานของร่างกายไปทำลายเซลล์มะเร็งนั้น ปัจจุบันได้รับการพิสูจน์ชัดว่าวิธีการนี้สามารถหยุดยั้งการแพร่กระจายของเซลล์มะเร็ง โดยไม่ก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนทางปฏิกิริยาภูมิต้านทานต่ออวัยวะส่วนอื่นที่รุนแรง สามารถนำมาใช้ทางคลินิกได้ ยุคของการรักษามะเร็งกำลังเปลี่ยนจากยุคของยาเคมีบำบัดเข้าสู่การรักษาด้วยภูมิต้านทาน หรือ immunotherapy ยากลุ่ม Immune checkpoint inhibitors โดยเฉพาะ PD-1 กับ CTLA-4 inhibitors จะเข้ามามีบทบาทในการรักษามะเร็งตับในระยะเวลาอันใกล้ จำเป็นแพทย์จะต้องมีความรู้ความเข้าใจในพื้นฐานของ immune checkpoints และยาที่ไปยับยั้งโมเลกุลเหล่านี้ Figure 1 เมื่อ T cells รับรู้แอนทิเจนผ่านทาง TCR/MHC จะมีปฏิกิริยาระหว่าง co-receptors หรือ immune checkpoints กับ ligands บน APCs หรือ เซลล์มะเร็ง ทั้งแบบกระตุ้น (co-stimulation) หรือยับยั้ง (co-inhibition) TCR = T cell receptor, MHC = major histocompatibility complex


Sign in / Sign up

Export Citation Format

Share Document