Geriatric Heart Failure, Depression, and Nursing Home Admission: An Observational Study Using Propensity Score Analysis

2006 ◽  
Vol 14 (10) ◽  
pp. 867-875 ◽  
Author(s):  
Ali Ahmed ◽  
Christina M. Lefante ◽  
M Syadul Islam Mullick ◽  
F Cleveland Kinney ◽  
Mahmud Ali
2018 ◽  
Vol 1 (1) ◽  
pp. 25-27
Author(s):  
Kriangsak Charoensuk

การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติโดยใช้คะแนนโพรเพนซิตี้ (propensity score analysis) เป็นหนึ่งในการวิจัยทางสถิติแบบใหม่ที่เพิ่งถือกำเนิดขึ้น ภายหลังสถิติพื้นฐานอื่นๆ และถูกนำมาใช้กันอย่างแพร่หลายเพิ่มมากขึ้น เพื่อช่วยควบคุมปัจจัยหรือตัวแปรกวน (confounding) ที่เกิดขึ้นในการศึกษาวิจัยแบบเชิงสังเกตการณ์ (observational study) ด้านการศึกษา จิตวิทยา รวมถึงด้ายวิทยาศาสตร์สุขภาพ ทดแทนการทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มเปรียบเทียบ (randomized control trial, RCT) ซึ่งบางครั้งผู้วิจัยไม่สามารถทำได้ อย่างไรก็ดี ยังคงมีผู้วิจัยหลายคนที่อาจยังสับสนและไม่เข้าใจหลักการ ความสำคัญ รวมถึงขั้นตอนพื้นฐานและเทคนิคของการวิเคราะห์วิธีดังกล่าว วัตถุประสงค์ของการทบทวนบทความในครั้งนี้จึงมุ่งหวังเพื่อ 1. ให้ผู้อ่านเข้าใจหลักการพื้นฐานของการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติโดยใช้ propensity score 2. ทราบเทคนิคพื้นฐานและการเลือก propensity score methods 3. เข้าใจการใช้ propensity score matching จากการยกตัวย่างการศึกษาวิจัยที่มีมาในอดีต เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจหลักการการวิเคราะห์ข้อมูลดังกล่าวมากยิ่งขึ้น Figure 1 จำนวนการศึกษาวิจัยทางการแพทย์ในแต่ละปี ที่มีรายชื่ออ้างอิงใน PubMed และ Science Citation Index และใช้การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้คะแนนโพรเพนซิตี้ (propensity score method) ดัดแปลงมาจากงานวิจัยของ Hill J และคณะ (8)


2006 ◽  
Vol 152 (5) ◽  
pp. 956-966 ◽  
Author(s):  
Ali Ahmed ◽  
Gilbert J. Perry ◽  
Jerome L. Fleg ◽  
Thomas E. Love ◽  
David C. Goff ◽  
...  

Sign in / Sign up

Export Citation Format

Share Document